มาตรา 40 4 — มาตรา 404 Page

ตด-พดลม-ดด-อากาศ-หอง-นา

เลขที่หนังสือ: กค 0811(กม.

มาตรา 40(4)ก

การจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(6) แห่งประมวลรัษฎากร ประเภทวิชาชีพอิสระ (วิชาชีพกฎหมาย การประกอบโรคศิลป วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี การประณีตศิลปกรรม) กรณีผู้รับเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ซึ่งได้รับเงินได้ตามมาตรา 40(6) แห่งประมวลรัษฎากร จะต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 7. การจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(7) แห่งประมวลรัษฎากร ประเภทค่าจ้างทำของเงินได้จากการรับเหมา (เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ) กรณีผู้รับเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ซึ่งได้รับเงินได้ตามมาตรา 40(7) แห่งประมวลรัษฎากร จะต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 8. การจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(8) แห่งประมวลรัษฎากร จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การอุตสากรรม การขนส่ง ที่อยู่ในบังคับต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย แบ่งออกได้ดังนี้ 8. 1 การจ่ายค่าโฆษณา กรณีผู้รับเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ซึ่งได้รับเงินค่าโฆษณา จะต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 8. 2 การจ่ายเงินได้พึงประเมินที่เป็นรางวัลในการประกวดแข่งขัน การชิงโชค กรณีผู้รับเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ซึ่งได้รับเงินรางวัลในการประกวดแข่งขัน การชิงโชค หรือการอื่นใดในลักษณะทำนองเดียวกัน จะต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 8.

0 ของเงินได้ ตามมาตรา 50(2)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร เมื่อถึงกำหนดยื่นรายการ ผู้มีเงินได้จะเสีย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาโดยนำไปรวมกับเงินได้อื่น และคำนวณภาษีตามอัตราก้าวหน้า หรือจะใช้สิทธิ เลือกเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในอัตราร้อยละ 15. 0 ของเงินได้ โดยไม่ต้องนำเงินได้ดังกล่าวไป รวมคำนวณภาษีกับเงินได้อื่นก็ได้ ตามมาตรา 48(3)(ก) แห่งประมวลรัษฎากร ในกรณีที่ผู้มีเงินได้ พิจารณาเห็นว่า มีภาระภาษีที่ต้องเสียสำหรับปีภาษีนั้นน้อยกว่าจำนวนภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่าย (อัตราร้อยละ 15. 0) ผู้มีเงินได้ก็มีสิทธินำเงินได้ดังกล่าวไปรวมคำนวณภาษีกับเงินได้อื่นเพื่อขอรับเงินภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายไว้เกินนั้นคืนได้ ตามคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่ 19/2533 เรื่อง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การเลือกเสียภาษีเงินได้สำหรับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจักร ฯลฯ ตามมาตรา 48(3) แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 13 มิถุนายน พ. ศ. 2533 แนววินิจฉัย: 1. กรณีผู้มีเงินได้เป็นบุคคลธรรมดา มีเงินได้ตามมาตรา 40(4)(ก) แห่งประมวลรัษฎากร เมื่อมีการจ่ายเงินได้ดังกล่าวให้กับผู้รับ ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่ต้องคำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้ ทุกคราวในอัตราร้อยละ 15.

0 (ไม่ต้องนำไปรวมกับเงินได้อื่น) ก็เพื่อเป็นการบรรเทาภาระ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้กับผู้มีเงินได้ดังกล่าวที่จะไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเงินได้ ดังกล่าวสูงกว่าจำนวนเงินภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 15.

  • Facebook พัฒนาแว่นตาอัจฉริยะ "เทเลพอร์ต" ร่างของคุณไปยังสถานที่ต่าง ๆ ได้ !!
  • App ปรับ รูปร่าง รูปทรง
  • โปร 300 ads in english
  • Jas sofa ราคา
  • แต่ง บ้าน เอื้อ อาทร 2 ชั้น ฟรี
  • ระวัง! อย่าทำฝาปิด Apple Pencil หาย …ซื้อใหม่เฉพาะฝาอย่างเดียว 750 บาท!!
  • ผ่อน บ้าน ลดหย่อน ภาษี
  • มาตรา 404 page
  • บัตร opd กสิกร pantip
  • แนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน ท้องถิ่น 2564

มาตรา 4.4.4

มาตรา 4.4.2

การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยมิได้มุ่งในทางค้าหรือหากำไร คำนวณหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามข้อ2. แต่ไม่จำกัดเพดานภาษี(20%) 9. การหักภาษี ณ ที่จ่ายเป็นกรณีเฉพาะ การจ่ายเงินที่มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้โดยเฉพาะ ให้คำนวณหักภาษี ณ ที่จ่าย ไว้โดยเฉพาะ ไม่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามหลักเกณฑ์ข้อ1-8

ป. 4/2528 ซึ่งในเนื้อหา มีคำสั่งให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ข) (ซึ่งคือ เงินปันผล และ เงินส่วนแบ่งของกำไร) มีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายสำหรับเงินปันผลที่จ่ายออกจากกองทุนรวมทุกประเภท ยกเว้นก็เพียงกองทุนรวมตราสารหนี้ ผลกระทบต่อนักลงทุนที่ลงทุนในกองทุนรวมก็คือ กรณีที่ 2: กองทุนรวมทุกประเภท (ยกเว้น กองทุนรวมตราสารหนี้) กรณีที่กองทุนรวมมีการจ่ายปันผลให้บุคคลธรรมดา ซึ่งรายได้ตรงนี้ เป็นรายได้มาตรา 40(4)(ข) จะถูก บลจ. หักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตรา 10% ของจำนวนเงินปันผลที่นักลงทุนได้รับในทุกกรณี ตามคำสั่งกรมสรรพากร ทั้งนี้ ถึงแม้ท่านจะเลือกไม่ให้ บลจ. หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้ ทาง บลจ. ก็จำเป็นต้องหักภาษีดังกล่าว ทั้งนี้ ยังคงสิทธิของนักลงทุนในการเลือกว่า เงินปันผลที่ได้รับ จะนำไปรวมคำนวนหรือไม่รวมคำนวนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาก็ได้ สาเหตุที่ยกเว้น กองทุนรวมตราสารหนี้ ก็เพราะจะถูกหักภาษี 15% ไปแล้วตั้งแต่ต้นทางจากกรณีที่ 1 การเปลี่ยนแปลงนี้ จะมีผลกับการลงทุนในกองทุนรวมทั้งระบบ ทุก บลจ. ตั้งแต่วันที่ 20 ส.

มาตรา 40 4 ฌ