อุปกรณ์ ใช้ สืบ ชะตา

ตด-พดลม-ดด-อากาศ-หอง-นา

กระบอกน้ำ 108 หรือ บางครั้งเท่าอายุ 2. กระบอกทราย 108 หรือ เท่ากับอายุ 3. บันไดชะตา 1 อัน 4. ลวดเงิน 4 เส้น 5. ลวดทอง 4 เส้น 6. หมากพลูผูกติดเส้นด้ายในลวดเงินลวดทอง 108 7. ไม้ค้ำ 1 อัน 8. ขัวไข่ (สะพานข้ามน้ำขนาดยาว 1 วา) 1 อัน 9. ช่อ (ธงเล็ก) 108 10. ฝ้ายค่าคิง จุน้ำมัน (ด้ายยาวเท่ากับตัวผู้สืบชะตา) 1 สาย 11. กล้วยมะพร้าว 1 ต้น 12. กล้วยดิบ 1 เครือ 13. เสื่อ 1 ผืน 14. หมอน 1 ใบ 15. หม้อใหม่ 2 ใบ (หม้อเงิน หม้อทอง) 16. มะพร้าว 1 คะแนง (ทะลาย) 17. ธงค่าคิง (ธงยาวเท่าตัว) 1 ผืน 18. เทียนเล่มบาท 1 เล่ม 19. ด้ายสายสิญจน์ล้อมรอบผู้สืบชะตา 1 กลุ่ม 20. บาตรน้ำมนต์ 1 ลูก 21. ปลาสำหรับปล่อยไปเท่าอายุผู้สืบชะตา 22. นก หรือ ปู หรือ หอย 23.

เลขาประธาน ปปช.ทำบุญ สืบชะตา ทอดผ้าป่าบูรณะซื้อเครื่องมือแพทย์ - KPP News

ม หร ศพ

พิธีสืบชะตา – Superstition

สืบชะตา

สืบชะตาคน นิยมทำเมื่อขึ้นบ้านใหม่ ย้ายที่อยู่ใหม่ ได้รับยศหรือตำแหน่งสูงขึ้น วันเกิดที่ครบรอบเช่น ๒๔ ปี ๓๖ ปี ๔๘ ปี ๖๐ ปี ๗๒ ปี เป็นต้น หรือฟื้นจากป่วยหนัก หรือมีผู้ทักทายว่าชะตาไม่ดีจำเป็นต้องสะเดาะเคราะห์และสืบชะตา เป็นต้น ๒. สืบชะตาบ้าน นิยมทำเมื่อคนในหมู่บ้าน ประสบความเดือดร้อน หรือเจ็บไข้ได้ป่วยกันทั่วไปในหมู่บ้าน หรือตายติดต่อกันเกิน ๓ คน ขึ้นไป ถือเป็นเสนียดของหมู่บ้าน คนในหมู่บ้านอาจพร้อมใจกันจัดในวันปากปี ปากเดือน หรือปากวัน คือวันที่หนึ่ง สอง หรือสามวันหลังวันเถลิงศก เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคล ๓. สืบชะตาเมือง จัดขึ้นเมื่อบ้านเมืองเกิดความเดือดร้อนจากอิทธิพลของดาวพระเคราะห์ตามความเชื่อทางโหราศาสตร์ เพราะทำให้บ้านเมืองปั่นป่วนวุ่นวาย เพราะการจราจลการศึก หรือเกิดโรคภัยแก่ประชาชนในเมืองเจ้านายท้าวพระยาบ้านเมืองจึงจัดพิธีสืบชะตาเมือง เพื่อให้อายุของเมืองได้ดำเนินต่อเนื่องสืบไป พิธีกรรม เครื่องสืบชะตาคนประกอบด้วย ๑. ไม้ค้ำสรี (สะหรี ต้นศรีมหาโพธิ์) ๑๐๐ เล่ม ๒. ขัว (สะพาน) ๑ คู่ ๓. ลวดเบี้ย ๓ เส้น (เส้นหนึ่งใช้หอยเบี้ยร้อยเป็นสาย ๑๐๐ ตัว) ๔. ลวดหมาก, ลวดพลู ๓ เส้น (เส้นละ ๑๐๐) ๕.

สืบชะตาคน - สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ช่วงเวลา ไม่กำหนดเวลา ความสำคัญ เป็นการต่ออายุให้มีความสุขพ้นจากภยันตรายทั้งปวง พิธีกรรม การสืบชะตา แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ สืบชะตาหลวง ให้ทุกคนในครอบครัวไปนั่งรวมกันภายในบริเวณขาตั้งสามเหลี่ยมที่จัดไว้ สืบชะตาน้อยจะมีผู้สืบชะตาคนเดียวที่ไปนั่งในขาตั้งสามเหลี่ยม โดยมีวัสดุอุปกรณ์และพิธีกรรมปฏิบัติดังนี้ วัสดุ อุปกรณ์ ๑. ขันตั้ง ประกอบด้วยของอย่างละ ๔ ได้แก่ หมาก ๔ พลู ๔ เทียน ๔ คู่ ธูป ๔ คู่ ดอกไม้ ๔ เงิน ๕ บาท ๑ สลึง ข้าวสาร ผ้าขาวผ้าแดง ๒. วัสดุที่ใช้สืบชะตา ๑) ต้นกล้วยต้นอ้อย(ให้ความหมายว่าเกิดความงอกงามสดชื่น) ๒) ไม้ง่ามความยาวเท่าศอกของผู้สืบชะตา ๓) หมาก พลู ๔) ตุง (การตัดกระดาษแก้วให้เป็นรูปตุ๊กตา) เลือกสีประจำเทวดานพเคราะห์ ๕) ข้าวเปลือก ข้าวสาร ๖) ผลไม้ส่วนใหญ่จะใช้มะพร้าว กล้วยทั้งดิบและสุก ๗) กระบอกน้ำ กระบอกทราย ใช้กระบอกไม้ไผ่ โดยมีข้อแม้ว่า น้ำอยู่บนปลาย ทรายอยู่ล่าง ๘) ด้ายสายสิญจน์ ๙) บาตรน้ำมนต์ (น้ำมนต์ประกอบด้วยฝักส้มป่อยเผา แล้วห้ามเป่า นำไปแช่ในน้ำสะอาด) พิธีกรรม ๑. พระสงฆ์นำสายสิญจน์ มาผูกคอผูกสืบชะตาทุกคนแล้วเริ่มสวด ๒. เมื่อใกล้จะจบพอสวดถึงคำว่า ขีณํ ปุราณํ นวํ นตํกิ สมราวิ ฯลฯ ก็จะมีผู้เฒ่าเป็นหญิงหม้ายลงไปใต้ถุนบ้าน เริ่มเผา ด้ายสายสิญจน์ ซึ่งมัดขึงไว้กับเส้นลวด โดยมีความยาวของด้ายเท่ากับ ๑ วา ของผู้สืบชะตาทุกคน การเผาเรียกว่าเผาสายสิญจน์ ค่าคิง ผู้ป่วยจะมีอายุยืนยาวต่อไปหรือมีความเชื่อว่าตายแล้วจะเกิดใหม่ ๓.

สืบชะตาคน - พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนา มช.

smart family hd ราคา

พิธีสืบชะตา

เปิดสอนวิชาเทียนสืบชะตา - YouTube

วัตถุดิบที่ใช้ในการทอผ้า «

กลางเวียงเชียงใหม่ 2. ประตูเชียงใหม่ 3. ประตูช้างเผือก 4. ประตูท่าแพ 5. ประตูสวนดอก 6. ประตูสวนปรุง 7. แจ่งศรีภูมิ 8. แจ่งขะต๊ำ 9. แจ่งกู่เฮือง 10.

โหลด เพลง happy
  1. บ่อ ground pit
  2. พิธีสืบชะตา
  3. ดู หนัง jarhead 3 movie
  4. โปรแกรมฟุตบอล พรีเมียร์ลีก อังกฤษ
  5. ทำบุญไม่ยากอย่างที่คิด ยกพิธี “สืบชะตาล้านนา”
  6. เว ป เจต เข้าสู่ระบบ ล่าสุด
  7. Nut mini ราคา
5 กิโลกรัม เรียกว่า เข้าเปลือกหมื่นเข้าสารพัน สิ่งที่จะต้องเตรียมในการทำพิธีสืบชะตาคน 1. นิมนต์พระ 9 รูปหรือมากกว่า หากจัดสวดพร้อมกันทุกจุดก็จะต้องใช้พระสงฆ์แจ่งบ้านละ 9 รูป รวมทั้งส่วนกลางด้วยเป็น 45 รูป (หากไม่มีเหตุร้ายแรงจริงๆก็จะนิมนต์พระเพียง 9 รูป) 2. เตรียมเครื่องสังเวยท้าวทั้งสี่ เครื่องบูชาเสื้อบ้าน หรือเทพารักษ์ประจำหมู่บ้าน 3. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ทำพิธี เช่น กล้วย อ้อย มะพร้าว หมาก พลู เครื่องขบเคี้ยว ฯลฯ 4. เตรียมเครื่องคำนับครูของอาจารย์ผู้ประกอบพิธีซึ่งจะมีกรวยดอกไม้ธูปเทียน เบี้ย 108 ข้าวเปลือกข้าวสารอย่างละกระทง ผ้าขาวผ้าแดงอย่างละ 2 ศอก เงิน 6 บาทหรือตามแต่อาจารย์กำหนด 5. เตรียมเครื่องสืบชาตา เช่น ไม้ค้ำ ขัวไต่ ลวดเงิน ลวดทอง กระบอกน้ำ ฯลฯ 6. ขันหรือกระบุงใส่ข้าวเปลือก ข้าวสาร และทราย 7. ให้ทุกครอบครัวเตรียมน้ำส้มป่อยหรือน้ำอบน้ำหอมและทรายมาร่วมพิธี ซึ่งเมื่อเสร็จพิธีแล้วจะได้นำกลับไปโปรยที่บ้านเรือนของตน 8. ตาแหลว หรือเฉลวและเชือกที่ฟั่นด้วยหญ้าคาสด ข้อมูลจาก: สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ เล่ม 7 ให้คะแนนบทความนี้ โดยการคลิกที่ดาว มากที่สุด = 5 ดาว คะแนนทั้งหมด คะแนน จาก ครั้ง เผยแพร่เมื่อ 27 ตุลาคม 2563 • การดู 3, 818 ครั้ง คลังความรู้ล้านนาคดี