มาตรา 118 กฎหมาย แรงงาน

เสย-ช-วง
โปรแกรมคำนวณ อัตราค่าชดเชยออนไลน์ (ปรับปรุง ตามกฎหมายใหม่ อัพเดท*) หมายเหตุ: มาตรา 118 ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้าง ดังต่อไปนี้ 1. ลูกจ้างทำงาน ครบ 120 วัน ไม่ครบ 1 ปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามสิบวัน 2. ลูกจ้างทำงาน ครบ 1 ปีไม่ครบ 3 ปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค้าจ้างอัตราสุดท้ายเก้าสิบวัน 3. ลูกจ้างทำงาน ครบ 3 ปีไม่ครบ 6 ปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค้าจ้างอัตราสุดท้ายหนึ่งร้อยแปดสิบวัน 4. ลูกจ้างทำงาน ครบ 6 ปีไม่ครบ 10 ปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค้าจ้างอัตราสุดท้ายสองร้อยสี่สิบวัน 5. ลูกจ้างทำงาน ครบ 10- 20 ปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค้าจ้างอัตราสุดท้ายสามร้อยวัน 6. ลูกจ้างทำงาน ครบ 20 ปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค้าจ้างอัตราสุดท้ายสี่ร้อยวัน การเลิกจ้างตามมาตรานี้ หมายความว่า การกระทำใดที่นายจ้างไม่ให้ลูกจ้างทำงานต่อไปและไม่จ่ายค่าจ้างให้ ไม่ว่าจะเป็นเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจ้างหรือเหตุอื่นใด และหมายความรวมถึงกรณีที่ลูกจ้างไม่ได้ทำงานและไม่ได้รับค่าจ้างเพราะเหตุที่นายจ้างไม่สามารถดำเนินกิจการต่อไป ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับแก่ลูกจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนและเลิกจ้างตามกำหนดระยะเวลา ข้อยกเว้น: การเลิกจ้างตาม มาตรา 119 (1) - (6) จะไม่ได้รับค่าชดเชยจากนายจ้าง ระบบนี้เป็นระบบทดสอบ หากมีปัญหาการใช้งานกรุณติดต่อทีมงานเพื่อปรับปรุงต่อไป
  1. ค่าชดเชยตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 118 - สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดตราด
  2. ลูกจ้างเกษียณอายุ เตรียมรับค่าชดเชยได้แล้ว ***

ค่าชดเชยตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 118 - สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดตราด

รปภ. หนุ่มช็อก แค่ถามค่าแรงวันหยุดนักขัตฤกษ์ เจอดีดออกจากกรุ๊ปไลน์ แถมตกงานฟ้าผ่า วันนี้ (6 เม. ย. 64) กลายเป็นเรื่องราวที่กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์ในโลกออนไลน์ หลังจากเพจเฟซบุ๊ก " อีซ้อขยี้ข่าว " โพสต์ข้อความสนทนาของ รปภ. คนหนึ่ง ที่สอบถามเรื่องค่าแรงในช่วงวันหยุดนักขัตฤกษ์ พร้อมระบุข้อความว่า "มีพนักงานรปภ.

  1. ศัลยกรรม ไร ผม
  2. แปล เพลง that girl full
  3. คำสั่ง while, do-while และ for - ครูไอที
  4. โปรแกรมคำนวณค่าชดเชย ตามกฎหมายใหม่ ออนไลน์ | ลงประกาศงานว่าง หาคนทำงาน คุณภาพ ที่ SiamHRM.com :- คำนวณค่าชดเชย, ค่าชดเชย, ค่าชดเชย เลิกจ้าง, โปรแกรม คำนวณค่าชดเชย
  5. 12 หาง ออนไลน์ skill simulator
  6. 16 พ ค 2562
  7. สรุปจุดเด่นและสเปค Vivo V21 5G พร้อมมัดรวมโปรโมชั่นจองไว้ให้แล้ว - Siamphone.com
  8. มิลานเซ็ง! "ชิรูด์" ติดโควิด เเยกกักตัวเเล้ว - เชียนสเต็บ baanpolb วิเคราะห์บอล ทีเด็ดบอล บ้านผลบอล
  9. พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 การเกษียณอายุตามมาตรา 118/1 - กองนิติการ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

เว็บไซต์ทดสอบ เรียนดี กีฬาเด่น หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา ประวัติ ตราสัญลักษณ์ โครงสร้างองค์กร ภารกิจ ดาวน์โหลด ติดต่อเรา แผนที่การเดินทาง Main menu หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา ประวัติ ตราสัญลักษณ์ โครงสร้างองค์กร ภารกิจ ดาวน์โหลด ติดต่อเรา แผนที่การเดินทาง ค้นหา... Main Menu หน้าหลัก สอบถามปัญหาแรงงาน พ. ร. บ. อำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการประเมินฯ กฎหมายแรงงาน ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง แผนงาน โครงการ สรุปผลงบทดลองประจำเดือน การจัดซืื้อจัดจ้าง ข้อมูลวิชาการ ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวกิจกรรม หนังสือเวียน คู่มือ คำถามบ่อย รายงานการประชุม แบบฟอร์มตามกฎหมาย MOL Menu กระทรวงแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กรมการจัดหางาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน สำนักงานประกันสังคม กระทรวงการคลัง 7 6 7 0 0 9 Today Yesterday This Week Last Week This Month Last Month All days 1869 2581 10222 733632 55663 52689 767009 Your IP: 192. 168. 2. 69 2022-04-20 16:13 Visitors Counter พ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ. ศ. 2540 No result... ค่าชดเชยตาม พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ. 2541 มาตรา 118 Post on 07 พฤษภาคม 2561 by Trat

ให้ลูกจ้างมีสิทธิลา เพื่อกิจธุระอันจำเป็นได้ปีละไม่น้อยกว่า 3 วันทำงาน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มาตรา 34 4. ให้ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์มีสิทธิลา เพื่อคลอดบุตร ไม่เกิน 98 วัน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มาตรา 41 5. ให้นายจ้างกำหนดค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลา ในวันหยุดให้แก่ลูกจ้าง ในอัตราเท่ากันไม่ว่าลูกจ้างนั้นจะเป็นชายหรือหญิง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มาตรา 53 6. ในกรณีที่นายจ้างมีความจำเป็นต้องหยุดกิจการทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นการชั่วคราว ด้วยเหตุหน่ึงเหตุใดที่สำคัญอันมีผลกระทบต่อการประกอบกิจการของนายจ้าง จนทำให้นายจ้างไม่สามารถ ประกอบกิจการได้ตามปกติ ซึ่งมิใช่เหตุสุดวิสัย ให้นายจ้างจ่ายเงินให้แก่ลูกจ้างไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของค่าจ้างในวันทำงานที่ลูกจ้างได้รับก่อนนายจ้างหยุดกิจการตลอดระยะเวลาท่ีนายจ้างไม่ได้ให้ลูกจ้าง ทำงาน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มาตรา 75 7. เมื่อนายจ้างเลิกจ้าง ต้อง จ่ายค่าชดเชย กรณีลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน ตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน มาตรา 118(5) 8.

ลูกจ้างเกษียณอายุ เตรียมรับค่าชดเชยได้แล้ว ***

แบบสำรวจ คุณรู้สึกอย่างไรกับเว็บไซต์เรา 3 2 7 2 7 3 1 วันนี้ วานนี้ อาทิตย์นี้ อาทิตย์ที่แล้ว เดือนนี้ เดือนที่แล้ว ทุกวัน 3181 3820 11251 3230579 90962 119658 3272731 Your IP: 192. 168. 2. 69 2022-04-20 16:13 Post on 02 กรกฎาคม 2561 ฮิต: 24085 Attachments: File Description File size พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 6) พ. ศ. 2560 การเกษียณอายุตามมาตรา 118/1 3506 kB

ที่ถูกไล่ออกแบบนี้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน ระบุไว้ว่า ลูกจ้างต้องไม่ทำผิดอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา 119 คือ ทุจริตต่อหน้าที่ จงใจทำให้นายจ้างหรือบริษัทได้รับความเสียหาย ฝ่าฝืนข้อบังคับ ละทิ้งหน้าที่ติดต่อกัน 7 วันทำงาน ประมาทเลินเล่อ และได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษา หาก รปภ. คนนี้ถูกเลิกจ้างและไม่ได้ทำผิดตามที่กล่าวมา มีสิทธิ์ที่จะได้รับเงินค่าตกใจในการถูกเลิกจ้าง 30 วัน ดังนี้ หากถูกเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ไม่ได้รับค่าตกใจ และค่าแรงตามกฎหมายกำหนด สามารถร้องเรียนไปยังสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เพื่อยื่นฟ้องต่อศาลแรงงาน โดยไม่ต้องใช้ทนายความ และไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น

คอลัมนิสต์ By ASEAN Insight 20 ก. ย. 2560 เวลา 3:10 น. 7. 7k นับเป็นข่าวดีอีกหนึ่งอย่างของลูกจ้างผู้ใช้แรงงานทั่วประเทศที่ที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อวันที่ 29 มิ. 2560 ได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ซึ่งมีเนื้อหาแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ. ศ. 2541 เรื่องการเกษียณอายุของลูกจ้าง และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 31 ส. ค. 2560 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 1 ก. 2560 ที่ผ่านมา ประเด็นหลักของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 6) พ. 2560 ฉบับนี้และผู้เขียนเชื่อว่าเป็นประเด็นที่ลูกจ้างทั้งหลายคาดหวังจากการทำงานให้กับนายจ้างมาเป็นระยะเวลานานคือ การได้รับเงินชดเชยเมื่อตนเองออกจากงานเนื่องจากการเกษียณอายุ โดยพระราชบัญญัติฉบับนี้ได้มีการเพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการเกษียณอายุและการจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างกรณีเกษียณอายุ เพื่อเป็นการคุ้มครองลูกจ้างกรณีเกษียณอายุและเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการบังคับใช้กฎหมาย โดยได้เพิ่มมาตรา 118/1 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.